Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/1421
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปฐมพงษ์ หอมศรี
dc.contributor.authorอัมพิกา ไกรฤทธิ์
dc.contributor.authorปรณัฐ วิสุวรรณ
dc.date.accessioned2014-02-25T03:49:18Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:33:10Z-
dc.date.available2014-02-25T03:49:18Z
dc.date.available2020-09-24T04:33:10Z-
dc.date.issued2555
dc.identifier.issn1685-5280
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/1421-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์หลักที่จะนำแนวความคิดของการประยุกต์ใช้ระบบการผลิตแบบโตโยต้าเข้าไปปรับปรุงกระบวนการผลิตน้ำมันรถยนต์โดยมุ่งกำจัดความสูญเปล่าที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ลดเวลานำในการส่งมอบชิ้นส่วนให้กับลูกค้าลดพื้นที่และวัสดุคงคลังในกระบวนการผลิต เครื่องมือของระบบการผลิตแบบโตโยต้า ได้แก่ งานมาตรฐาน (Standard Work) การวิเคราะห์กระบวนการทำงาน จัดสมดุลสายการผลิตให้น้อยกว่า Takt time เพื่อกำจัดสาเหตุแห่งความสูญเปล่า ระบบคัมบังถูกนำมาใช้ในการสั่งผลิตแบบทันเวลา นอกจากนี้ยังปรับปรุงพื้นที่การทำงานให้สามารถควบคุมด้วยสายตา ผลของการดำเนินการวิจัยสามารถลดรอบเวลาการผลิต (Cycle time) จำนวนถังน้ำมันต่อชั่วโมงของกระบวนการประกอบเพิ่มขึ้น 18.31%, จำนวนพนักงานลดลง 11.11%, สินค้าสำเร็จรูปในคลังสินค้าลดลง 17.68%, ปริมาณชิ้นส่วนของงานระหว่างทำและขนาดล๊อต (Lot size) ในกระบวนการผลิตลดลง 14.48%, พื้นที่การจัดเก็บชิ้นส่วนประกอบและสินค้าสำเร็จรูปลดลง 328.81 ตารางเมตร หรือ 34% อีกทั้งเวลานำของกระบวนการผลิตลดลง 86.17% รวมแล้วสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายของโรงงานตัวอย่างเป็นจำนวนเงินทั้งสิ้น 36,008,727.82 บาทต่อปีen_US
dc.description.abstractThe main objective of this research is to apply the concept of Toyota Production Systems to improve the automotive fuel tank process in order to eliminating wastes in the manufacturing process and increasing production efficiency, reducing delivery lead time to customer and reducing work space and work-in-process. Many Techniques include standard work, process analysis and production line balancing was implemented to reduce current cycle time to be less than Takt time and to eliminate wastes. The Kanban System was also used to produce parts on time. In addition, improving working area was made to be visually controllable. The results show that increasing the number of tanks assembly process per hour by up to 18.31 %, reducing number of operators by 11.11%, reducing the finished goods inventory by 17.68%, reducing the quantity of work-in-process and lot size by 14.48%. Components and finished goods storage space is reduced by up to 328.81 square meters or 34% and production lead time could be reduced by 86.17% with overall cost saving of factory amounting to approximately 36,008,727.82 Baht per year.
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.relation.ispartofseriesวารสารวิศวกรรมศาสตร์ ราชมงคลธัญบุรี;ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2555
dc.subjectระบบการผลิตแบบโตโยต้าen_US
dc.subjectแทคไทม์en_US
dc.subjectยามาซูมิ ชาร์ทen_US
dc.titleการประยุกต์ใช้ระบบการผลิตแบบโตโยต้า กรณีศึกษา โรงงานผลิตถังน้ำมันรถยนต์en_US
dc.title.alternativeAn Application of Toyota Production System: A case study of Automotive Fuel Tank Manufactureren_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:บทความ (Article - EN)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Y.10 Vol.1 p.11-24 2554.pdfAn Application of Toyota Production System: A case study of Automotive Fuel Tank Manufacturer5.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.