Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/3011
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorเอกภพ ดวงจันทร์
dc.date.accessioned2017-12-29T03:49:49Z
dc.date.accessioned2020-09-24T06:39:48Z-
dc.date.available2017-12-29T03:49:49Z
dc.date.available2020-09-24T06:39:48Z-
dc.date.issued2559
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/3011-
dc.description.abstractการแจ้งเหตุกระแสไฟฟ้าขัดข้องในระบบจำหน่าย 22 kV ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ศูนย์วิเคราะห์แก้ไขกระแสไฟฟ้าขัดข้องจะแจ้งข้อมูลของประเภทที่เกิดความผิดพร่อง ขนาดกระแส และตำแหน่งที่เกิดความผิดพร่อง เพื่อให้พนักงานเข้าไปแก้ไขกระแสไฟฟ้าขัดข้อง ในการแจ้งตำแหน่งผิดพร่องจะแจ้งลักษณะเป็นโซน คือ โซนที่ห่างจากสถานีไฟฟ้าในระยะ 5 กิโลเมตร และโซนที่อยู่ห่างที่มีระยะมากกว่า 5 กิโลเมตร ซึ่งทา ให้ขอบเขตการตรวจสอบหาตำแหน่งความผิดพร่องกว้างและใช้เวลานานในการเข้าแก้ไขไฟฟ้าขัดข้อง วิทยานิพนธ์นี้นำเสนอวิธีการระบุตำแหน่งความผิดพร่องในระบบแรงดันไฟฟ้า 22 kV ในรูปแบบพิกัดทางภูมิศาสตร์ โดยการใช้โปรแกรม DIgSILENT จำลองหาค่ากระแสผิดพร่องตามความยาวของสายไฟ มาทำ แผนที่ระบุพิกัดบนแผนที่ทางภูมิศาสตร์ และนำเอาค่าพิกัดภูมิศาสตร์ที่ได้มานั้นประยุกต์ใช้ร่วมกับโปรแกรม GIS (Geographic Information System) ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค โดยใช้วงจรที่ 3 ของสถานีไฟฟ้าบางปะอิน 3 เป็นกรณีศึกษา ผลการทดลองของวิธีที่นำเสนอสามารถจำกัดพื้นที่ในการตรวจสอบหาตำแหน่งผิดพร่องแคบลงและรวดเร็ว โดยมีความคลาดเคลื่อนเฉลี่ย 2 ต้นเสาไฟฟ้า หรือคิดเป็นระยะห่างประมาณ 86 เมตร และค่ากระแสผิดพร่องมีความคลาดเคลื่อนเฉลี่ย 1.96% เมื่อเทียบกับข้อมูลที่บันทึกการเกิดการผิดพร่องที่เคยเกิดขึ้นในวงจรที่ 3 ของสถานีไฟฟ้าบางปะอิน 3 เป็นกรณีศึกษาen_US
dc.description.abstractThe power failure notification of the Provincial Electricity Authority (PEA) 22 kV distribution system, the Power Correction Center was informed for a type of fault, amplitude of the fault current and a fault location to the power failure repair staff so that they could check and correct the failure. The fault location is informed in zones within and over 5 kilometers from the power station. This caused wide scope of examining the fault and time consuming to correct the failure. This thesis presented a determining fault location method of 22 kV distribution systems in the form of geographic ordinate. DIgSILENT program was applied to simulate the amplitude of fault currents according to the length of the cable. The simulation results were used to determine the coordinates on the geographic map which could be applied to the Geographic Information System program of the PEA. In this study, the 3rd circuit of Bang Pa-in 3 power station was conducted as a case study. The results revealed that this proposed method could narrow down and speed up the area of the fault location. The error was averagely counted as the distance of two electricity poles or 86 meters. Besides, the average fault current error was 1.96% compared to the recorded fault data occurred in the 3rd circuit of Bang Pa-in 3 power station.en_US
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์. สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าen_US
dc.subjectพิกัดภูมิศาสตร์en_US
dc.subjectโปรแกรม DIgSILENTen_US
dc.subjectกระแสไฟฟ้าขัดข้องen_US
dc.subjectGeographical positionsen_US
dc.titleการระบุตำแหน่งความผิดพร่องในระบบ 22 kV ในรูปแบบพิกัดทางภูมิศาสตร์en_US
dc.title.alternativeFault locating in 22 kV system in form of geographic coordinateen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis - EN)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RMUTT-154624.pdfการระบุตำแหน่งความผิดพร่องในระบบ 22 kV ในรูปแบบพิกัดทางภูมิศาสตร์10.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.