Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/4583
Title: การพัฒนาระบบแชทบอทสำหรับการค้นคว้าปริญญานิพนธ์ ระดับปริญญาตรี ของห้องสมุดคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
Other Titles: Development of a chatbot system for undergraduate project research in the library of Engineering at Rajamangala University of Technology Thanyaburi
Authors: พัชรา วงค์ตาผา
Keywords: แชทบอท
ปริญญานิพนธ์
ระดับปริญญาตรี
ห้องสมุดคณะวิศวกรรมศาสตร์
Issue Date: 2566
Publisher: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์. ห้องสมุด.
Abstract: การพัฒนาระบบแชทบอท ในยุคที่เทคโนโลยีดิจิทัลเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เพื่อให้ผู้ใช้เข้าถึงข้อมูลสารสนเทศที่ตรงตามความต้องการ สะดวก รวดเร็ว ทันสมัยมากที่สุด การนำเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ มาช่วยในการปรับปรุงการบริการ เช่น การค้นคว้าทรัพยากร หรือการตอบคำถามเบื้องต้นผ่านแชทบอท ทำให้ผู้ใช้ได้รับบริการที่รวดเร็วและตรงจุด การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาระบบแชทบอทสำหรับการค้นคว้าปริญญานิพนธ์ ระดับปริญญาตรี ของห้องสมุดคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และ 2) ศึกษาประสิทธิภาพและความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบแชทบอทสำหรับการค้นคว้าปริญญานิพนธ์ ระดับปริญญาตรี ของห้องสมุดคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ประชากรที่ใช้ศึกษาเป็นผู้เข้าใช้บริการห้องสมุดที่เป็นนักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ และเป็นสมาชิกในแอคเคาว์ไลน์แอปพลิเคชัน จำนวน 100 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบประเมินประสิทธิภาพของระบบแชทบอทสำหรับการค้นคว้าปริญญานิพนธ์ระดับปริญญาตรี ของห้องสมุดคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และแบบประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบแชทบอทสำหรับการค้นคว้าปริญญานิพนธ์ระดับปริญญาตรี ของห้องสมุดคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ผลการประเมินประสิทธิภาพระบบแชทบอทสำหรับการค้นคว้าปริญญานิพนธ์ ระดับปริญญาตรี ของห้องสมุดคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 4 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านความสามารถในการทำงานตามความต้องการของผู้ใช้ระบบ 2) ด้านฟังก์ชั่น การทำงานของระบบ 3) ด้านความง่ายต่อการใช้งานระบบ และ 4) ด้านประสิทธิภาพ ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และผลการศึกษาประสิทธิภาพและความพึงพอใจต่อการใช้งานระบบแชทบอทสำหรับ การค้นคว้าปริญญานิพนธ์ ระดับปริญญาตรี ของห้องสมุดคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด จากผลการวิจัยนี้สามารถเป็นเครื่องมือช่วยค้นคว้าปริญญานิพนธ์ โดยระบบแชทบอทสามารถตอบคำถามได้จากคำค้นได้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้บริการ และมีส่วนริชเมนูที่เชื่อมโยงให้สามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลการสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์ เครื่องมืองานวิจัย และเป็นหนึ่งช่องทางใน การประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่าง ๆ ของห้องสมุดคณะวิศวกรรมศาสตร์ด้วย
The development of chatbot systems in an era of rapid digital technological change aims to provide users with convenient, fast, and modern access to information that precisely meets their needs. Integrating artificial intelligence technology into service improvements, such as assisting with resource discovery or responding to preliminary inquiries through chatbots, enables users to receive faster and more targeted services. The objective of the research was to 1) Develop a chatbot system for undergraduate project research in the library of Engineering at Rajamangala University of Technology Thanyaburi, and 2) Evaluate the Performance and user satisfaction of the chatbot system and assess user satisfaction with its use for the same purpose. The sample group consisted of 100 undergraduate engineering students who were library users and members of the LINE application account. The research instruments included: 1) an efficiency evaluation form for the chatbot system assisting undergraduate project research in the library of Engineering, and 2) a user satisfaction evaiuation questionnaire. The research statistics used were the mean and standard deviation. The research results showed that 1) The evaluation of the chatbot system for undergraduate thesis research in the Library of the Faculty of Engineering at Rajamangala University of Technology Thanyaburi, based on four aspects (1) system responsiveness to user needs, (2) system functionality, (3) ease of use, and (4) system performance was rated at the highest level overall. 2) The overall results regarding system performance and user satisfaction with the chatbot were also at the highest level. Based on the findings, the development of a chatbot system serves as an effective tool to support undergraduate thesis research. The chatbot can accurately respond to users' search queries and features a rich menu that links to online databases, research tools, and other academic resources. Additionally, it functions as a communication channel to promote library activities organized by the Faculty of Engineering.
URI: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/4583
Appears in Collections:วิจัย (Research - EN)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
20250709-R2R-Patchara W.pdfDevelopment of a chatbot system for undergraduate project research in the library of Engineering at Rajamangala University of Technology Thanyaburi2.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.