Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/788
Title: การพัฒนาชุดชั้นในสตรียับยั้งแบคทีเรียด้วยไมโครเอนแคปซูลเลชันจากน้ามันหอมระเหยกระชายดำ
Other Titles: The Development of Antibacteria on Brassiere by Microencapsulation from Kaempferia parviflora
Authors: จิราภรณ์ คชสง่า
Keywords: ชุดชั้นใน
กระชายดำ
ไมโครเอนแคปซูลเลชัน
Issue Date: 2554
Publisher: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์. สาขาวิชาเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์
Abstract: วัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อศึกษาและพัฒนาการสกัดน้ามันหอมระเหยกระชายด้าซึ่งมีประสิทธิภาพการยับยั้งแบคทีเรียมาประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์สิ่งทอ โดยได้มีการทดสอบประสิทธิภาพการยับยั้งแบคทีเรียของน้ามันหอมระเหยกระชายด้าในแบคทีเรีย Staphylococcus aureus (ATCC 6538) และแบคทีเรีย Klebsiella pneumoniae (ATCC 4352) พบว่าน้ามันหอมระเหยกระชายดำมีความสามารถในการยับยั้งแบคทีเรีย Staphylococcus aureus (ATCC 6538) และแบคทีเรีย Klebsiella pneumoniae (ATCC 4352) ที่แตกต่างกันอย่างมีนัยส้าคัญที่ .05 ส้าหรับในงานวิจัยครั้งนี้จะน้าน้ามันหอมระเหยกระชายด้าที่สกัดได้มาท้าแคปซูลในพอลิแลคติกแอซิดโดยอาศัยปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไลซ์เซชันแบบอิมัลชัน วิเคราะห์ลักษณะของไมโครแคปซูลจะใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด (Scanning Electron Microscope, SEM) และวิเคราะห์ทางความร้อน (Thermogravimetric Analysis, TGA) จากการทดลองพบว่า ไมโครแคปซูลเลชันจากน้ามันหอมระเหยกระชายดำที่เตรียมได้มีลักษณะเป็นทรงกลม สามารถสังเกตเห็นได้จากกล้องจุลทรรศน์ โดยไมโครแคปซูลที่เตรียมขึ้นจะมีขนาดอนุภาคอยู่ระหว่าง 10 – 150 ไมโครเมตร มีขนาดอนุภาคเฉลี่ยที่ 23.881 ไมโครเมตร และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 2.801 เมื่อน้าไมโครแคปซูลที่เตรียมขึ้นไปใช้เคลือบติดบนผ้า (ฝ้ายพอลิเอสเทอร์ และไนลอน) พบว่าการเคลือบติดบนผ้าไนลอนที่มีโครงสร้างเป็นผ้าถักด้ายยืนมีประสิทธิภาพยับยั้งแบคทีเรียดีที่สุด และผ้าไนลอนที่ผ่านการซัก 5 ครั้ง เมื่อส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด (Scanning Electron Microscope, SEM) ยังคงพบไมโครแคปซูลจากน้ามันหอมระเหยกระชายด้าติดอยู่
This study was aimed to develop the KaempferiaParviflora Oil (KPO) microcapsules for textile application, KPO antibacterial had been tested against Staphylococcus aureus (ATCC 6538) and Klebsiellapneumoniae (ATCC 4352) and its effects against these two different kinds of bacteria were significantly different at p<0.05. In this study, the KPO was encapsulated in Poly-l-Lactic Acid (PLLA) to make microcapsules by an emulsion polymerization and the prepared capsules were then analyzed by means of Scanning Electron Microscope, SEM) and Thermo-Gravimetric Analysis, TGA). It was found that through an optical microscope the developed KPO microcapsules could be seen in three-dimension sphere shapes. The particle sizes of these microcapsules ranged between 10 – 150 μm. and their average particle size was 23.881 μm with the standard diviation of 2.801. When the KPO microcapsules were applied to finish onto the following three kinds of cotton fabrics: cotton, polyester and nylon, to study the antibacterial property of the KPO microcapsules before washing, the result showed that the KPO-finished nylon fabric with a warp knitted structure displayed the most efficient antibacterial performance and after 5-time washing, it could be seen through the scanning electron microscope that the microcapsules still remained on the nylon fabric.
URI: http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/788
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis - HET)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
124354.pdfการพัฒนาชุดชั้นในสตรียับยั้งแบคทีเรียด้วยไมโครเอนแคปซูลเลชันจากน้ามันหอมระเหยกระชายดำ15.7 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.