Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/929
Title: การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการดีดตัวกลับกับความเค้น ในกระบวนการดัดโลหะแบบ Compression โดยการจำลองไฟไนต์เอลิเมนต์
Other Titles: A study of the relationships between springback and stress in compression bending process byusing finite element-simulation
Authors: อักขรายุทธ พิศิษฐวานิช
Keywords: ความเครียดและความเค้น--วิจัย
Issue Date: 2554
Publisher: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ.
Abstract: การจัดทาวิทยานิพนธ์ในหัวข้อการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการดีดตัวกลับกับความเค้นในกระบวนการดัดโลหะแบบ Compression โดยการจาลองไฟไนต์เอลิเมนต์ จัดทาเพื่อศึกษาผลกระทบของกระบวนการดัดเหล็กเกรด DIN St 37 ซึ่งวัสดุที่ใช้ในการศึกษาคือ เหล็กท่อกลวง เหล็กเส้นกลมผิวเรียบ เหล็กแผ่น เนื่องจากในปัจจุบันอุตสาหกรรมผลิตเฟอร์นิเจอร์ และก่อสร้าง นิยมใช้การขึ้นรูปโลหะโดยกระบวนการดัด แต่การขึ้นรูปเย็นที่อุณหภูมิห้องด้วยกระบวนการนี้จะเกิดความเค้นที่บริเวณส่วนโค้งของเหล็กเป็นจานวนมากอาทิ ความเค้นแรงดึง (Tensile Stress) และความเค้นอัด(Compression Stress) เป็นต้น ซึ่งความเค้นที่เกิดขึ้นเหล่านี้จะส่งผลกระทบทางด้านคุณภาพของเหล็กที่ผ่านกระบวนการดัดทาให้เหล็กเกิดข้อบกพร่องที่พบเห็นกันบ่อยๆ คือ รอยฉีกขาด หรือ แตก รอย บุบ หน้าตัดของเหล็กไม่สม่าเสมอ การบิดเบี้ยว ความหนาของผนังไม่เท่ากัน รอยย่น และการดีดตัว กลับของเหล็ก ดังนั้นการศึกษาเกี่ยวกับข้อบกพร่องอันมีสาเหตุมาจากความเค้นจะใช้หลักการทางไฟไนต์เอลิเมนต์ และโปรแกรม MSC. Marc Mentat มาช่วยในการวิเคราะห์ความเค้น ความเครียดข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นกับเหล็กทั้ง 3 ประเภท ที่ใช้กระบวนการดัดแบบ Compression ด้วยแม่พิมพ์ดัดมัลติฟังก์ชันที่ออกแบบสร้างขึ้นมา
Description: วพ TA 350อ465ก
URI: http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/929
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis - EN)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
118585-A study of the relationships between springback and stress.pdfการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการดีดตัวกลับกับความเค้น ในกระบวนการดัดโลหะแบบ Compression โดยการจำลองไฟไนต์เอลิเมนต์37.89 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.