Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/1680
Title: อิทธิพลตัวแปรการเชื่อมฟริกชั่นสเตอร์ต่อกลสมบัติรอยต่อชนอลูมิเนียมและเหล็กกล้า
Authors: กิตติพงษ์ กิมะพงศ์
อนินท์ มีนมต์
Keywords: การเชื่อมฟริกชั่นสเตอร์
เหล็กกล้า
อลูมิเนียม
Issue Date: 2549
Publisher: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์
Abstract: บทความนี้นำเสนอการเชื่อมรอยต่อชนแผ่นอลูมิเนียมผสมและแผ่นเหล็กกล้าคาร์บอนต่ำด้วยวิธีการเชื่อมฟริกชั่นสเตอร์ โดยมีการศึกษาตัวแปรการเชื่อมที่มีผลต่อสมบัติของรอยต่อ เช่น ความเร็วรอบในการหมุนของตัวกวน ระยะตำแหน่งของตัวกวนในรอยต่อ และขนาดความโนของตัวกวน ผลการทดลองที่ได้คือ รอยต่อชนระหว่างอลูมิเนียมผสมและเหล็กกล้าคาร์บอนต่ำสามารถทำการเชื่อมได้อย่างมีประสิทธิผลด้วยการเชื่อมฟริกชั่นสเตอร์ ค่าความต้านทานแรงดึงสูงสุดของอลูมิเนียมผสม เศษเล็กๆ ของเหล็กถูกดันเช้าสู่แนวเชื่อมก่อนให้เกิดสารประกอบกึ่งโลหะที่บริเวณด้านบนของแนวเชื่อม และทำให้เกิดการพังทลายของรอยต่อตามแนวเชื่อมยึดของเหล็กและอลูมิเนียม ขณะที่กึ่งกลางและด้านล่างของแนวเชื่อมไม่มีการก่อการต่อของสารประกอบกึ่งโลหะ
This paper proposes an application of a friction stir welding to butt-weld an aluminum alloy plate to a low carbon steel plate. The effects of pin rotation speed, position of the pin axis and pin diameters on tensile strength and microstructure of the joint were investigated. The main results are as follow s. Butt joint welding of an aluminum alloy plate was easily and success fully achieved. The maximum tensile strength of the joint was about 86% of that of the aluminum alloy base metal. Many fragments of the steel were scattered in the aluminum alloy matrix and a fracture tended to occur along the interface between the fragment and the aluminum matrix. A small amount of intennetallic compounds was formed at the upper part of the steel/aluminum interface while no intennetallic compounds were observed in the middle and the bottom regions of the interface . A small amount of intennetallic compound was also often formed at the interface between the steel fragments and the aluminum matrix. The region s where the intennetallic compounds formed seemed to be fracture path s in a joint.
Description: วารสารวิศวกรรมศาสตร์ ราชมงคลธัญบุรี. ปีที่ 4, ฉบับที่ 7 (ม.ค. – มิ.ย. 2549), หน้า 1-7
URI: http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/1680
ISSN: 1685-5280
Appears in Collections:บทความ (Article - EN)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Y.04 Vol.7 p.1-7 2549.pdfอิทธิพลตัวแปรการเชื่อมฟริกชั่นสเตอร์ต่อกลสมบัติรอยต่อชนอลูมิเนียมและเหล็กกล้า3.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.