Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/2755
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorเอมิกา รัตนมาลา
dc.date.accessioned2017-04-20T02:42:52Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:48:35Z-
dc.date.available2017-04-20T02:42:52Z
dc.date.available2020-09-24T04:48:35Z-
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/2755-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อพัฒนารูปแบบการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาเพื่อ รองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดนครนายก และ 2) เพื่อศึกษาความ เหมาะสมของรูปแบบการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของ โรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดนครนายก ระเบียบวิธีและเครื่องมือวิจัย คือ 1) การวิเคราะห์เอกสาร 2) การสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ 10 คน ด้วยแบบสัมภาษณ์ 3)การสนทนากลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ 18 คน ด้วยแบบการสนทนากลุ่ม และ 4) ตรวจสอบความเหมาะสมของรูปแบบด้วยแบบสอบถาม ผลการวิจัยพบว่า หลักสูตรสถานศึกษาเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของโรงเรียน มัธยมศึกษา จังหวัดนครนายก ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ขั้นการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน 2) การกำหนดหลักการและเป้าหมาย 3) การกำหนดเนื้อหาและการจัดการเรียนรู้ 4) การนำ ไปใช้และ ปรับปรุงหลักสูตร และ 5) การวัดและประเมินผลหลักสูตร ส่วนรูปแบบที่พัฒนาขึ้นผู้ทรงคุณวุฒิมี ความเห็นว่า เหมาะสมในการนำมาใช้ในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาเพื่อรองรับการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียนของโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดนครนายกen_US
dc.description.abstractThe research aimed to 1) develop the school curriculum models for ASEAN community of matthayomsuksa schools in Nakhon Nayok province, and 2) study the appropriateness of the school curriculum model for ASEAN community of matthayomsuksa schools in Nakhon Nayok province. The research methodology and the research instruments were 1) document analysis, 2) interview with 10 people giving important information with interview forms, 3) group conversations of 18 experts with group conversation forms, and 4) verification of the appropriateness of the models with questionnaires. The findings revealed that the school curriculum for ASEAN community of matthayomsuksa schools in Nakhon Nayok province consisted of five elements 1) basic data analysis step, 2) determining/specifying rationales, 3) determining contents and learning management, 4) curriculum application and curriculum improvement, and 5) assessment and evaluation. For the developmental models, the experts said that the models were suitable for the application of school curriculum development for ASEAN community of matthayomsuksa schools in Nakhon Nayok province.
dc.language.isothaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม. สาขาวิชาการวิจัยและพัฒนาหลักสูตรen_US
dc.subjectหลักสูตรการศึกษา -- การพัฒนาen_US
dc.subjectการศึกษาชั้นมัธยมศึกษา -- หลักสูตรen_US
dc.subjectการพัฒนารูปแบบen_US
dc.subjectหลักสูตรสถานศึกษาen_US
dc.subjectประชาคมอาเซียนen_US
dc.titleรูปแบบการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดนครนายกen_US
dc.title.alternativeThe models of matthayomsuksa school curriculum development for ASEAN community in Nakhon Nayok provinceen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis-TECHED)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RMUTT-151616.pdfThe models of matthayomsuksa school curriculum development for ASEAN community in Nakhon Nayok province4 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.