Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/2875
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorเอกสิทธิ์ ไตรธรรม
dc.date.accessioned2017-07-04T07:44:50Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:48:14Z-
dc.date.available2017-07-04T07:44:50Z
dc.date.available2020-09-24T04:48:14Z-
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/2875-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อหาประสิทธิภาพชุดฝึกอบรมกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ เรื่อง การทำนาปลอดสาร เพื่อส่งเสริมอาชีพเกษตรกร ตำบลรังนก อำเภอสามง่าม จังหวัดพิจิตร 2) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของเกษตรกรตำบลรังนก อำเภอสามง่าม จังหวัดพิจิตร หลังการ ใช้ชุดฝึกอบรมกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ 3) เพื่อหาความพึงพอใจของเกษตรกรตำบลรังนก อำเภอสามง่าม จังหวัดพิจิตร หลังจากใช้ชุดฝึกอบรมกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ เรื่อง การทำนาปลอดสาร เพื่อส่งเสริม อาชีพเกษตรกร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นสมาชิกกลุ่มเกษตรกรพอเพียงตำบลรังนก ทั้ง 12 หมู่บ้าน จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย ชุดฝึกอบรมกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ เรื่อง การ ทำนาปลอดสาร เพื่อส่งเสริมอาชีพเกษตรกร แบบทดสอบก่อนและหลังการอบรม แบบประเมินความ พึงพอใจของเกษตรกรที่มีต่อชุดฝึกอบรมกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ เรื่อง การทำนาปลอดสาร เพื่อส่งเสริม อาชีพเกษตรกร สถิติที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ชุดฝึกอบรมกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ เรื่อง การทำนาปลอดสาร เพื่อส่งเสริม อาชีพเกษตรกร มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 81.33/80.17 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ เกษตรกร หลังการฝึกอบรมของเกษตรกรสูงกว่าก่อนการฝึกอบรม ที่คะแนนเฉลี่ย หลังฝึกอบรม เท่ากับ 16.03 มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 1.30 คิดเป็นร้อยละ 80.17 และความพึงพอใจของ เกษตรกรที่มีต่อชุดฝึกอบรมกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ เรื่อง การทำนาปลอดสาร เพื่อส่งเสริมอาชีพ เกษตรกร มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.45 ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากen_US
dc.description.abstractThe purposes of this study were to 1) validate the efficiency of the training package via group activity relation in organic rice farming to support the farmers at Rangnok Sub-district in Phichit Province, 2) study the achievement of the farmers at Rangnok Sub-district in Phichit Province after using the training package, and 3) find out the opinions of farmers at Rangnok Sub-district in Phichit Province after using the said training package. The samples of this study were consisted of the farmers from 12 villages in Rangnok Sub-district, Sam-ngam District in Phichit Province. The instruments used were training package via group activity relation in topic of organic rice farming to support farmers, pre-test and post-test, and satisfaction survey questionnaire. The data was analyzed using percentage, average and standard deviation. The result of this study showed that the Training Package was efficient at 81.33/80.17. The farmers’ achievement scores gained after the training was higher than the scores gained before the training at the level of 16.03 with a standard deviation of 1.30 and percentage of 80.17. Finally, the farmers’ opinion toward the Training Package was at a very good level (4.45).
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม. สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา.en_US
dc.subjectชุดฝึกอบรมen_US
dc.subjectกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์en_US
dc.subjectนาปลอดสารen_US
dc.subjectเกษตรกรen_US
dc.titleชุดฝึกอบรมกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ เรื่อง การทำนาปลอดสาร เพื่อส่งเสริมอาชีพเกษตรกร ตำบลรังนก อำเภอสามง่าม จังหวัดพิจิตรen_US
dc.title.alternativeAn organic rice farming training package for the farmers of Rangnok Sub-district, Sam-ngam district in Phichit provinceen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis-TECHED)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RMUTT-151524.pdfAn organic rice farming training package for the farmers of Rangnok Sub-district, Sam-ngam district in Phichit province5.31 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.