Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/3000
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวรภร ฉิมมี
dc.date.accessioned2017-12-06T03:06:08Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:49:09Z-
dc.date.available2017-12-06T03:06:08Z
dc.date.available2020-09-24T04:49:09Z-
dc.date.issued2559
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/3000-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาชุดการเรียนด้วยการเรียนแบบปัญหาเป็นฐาน เรื่อง การสร้างสุขภาวะทางเพศสำหรับเยาวชน 2) เพื่อเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ก่อนเรียนและหลังเรียนของเยาวชนที่เรียนจากชุดการเรียนแบบปัญหาเป็นฐาน เรื่อง การสร้างสุขภาวะทางเพศ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของเยาวชนหลังเรียนจากชุดการเรียนด้วยการเรียนแบบปัญหาเป็นฐาน เรื่อง การสร้างสุขภาวะทางเพศ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ คือ เยาวชนที่เข้าเยี่ยมชมองค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ จำนวน 30 คน โดยได้มาจากการสุ่มตัวอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) ชุดการเรียนด้วยการเรียนแบบปัญหาเป็นฐาน เรื่อง การสร้างสุขภาวะทางเพศสำหรับเยาวชน 2) แบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้ และ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีแบบไม่อิสระต่อกัน ผลการวิจัย พบว่า 1) ชุดการเรียนด้วยการเรียนแบบปัญหาเป็นฐาน เรื่อง การสร้างสุขภาวะทางเพศ มีประสิทธิภาพเท่ากับ 86.67 / 85.17 2) ผลการเรียนรู้ของเยาวชนหลังเรียนที่เรียนจากชุดการเรียนแบบปัญหาเป็นฐาน เรื่อง การสร้างสุขภาวะทางเพศ สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ความพึงพอใจของเยาวชนที่เรียนจากชุดการเรียนด้วยการเรียนแบบปัญหาเป็นฐาน เรื่อง การสร้างสุขภาวะทางเพศ อยู่ในระดับมากen_US
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) to develop a learning package with problem based learning on the topic of the promotion of sexual health for youth 2) to compare the learning outcome before and after learning from the learning package with problem based learning on the topic of the promotion of sexual health 3) to study the satisfaction of youth after learning from the learning package with problem based learning. The sample was 30 youth visiting the National Science Museum, chosen by simple random sampling. Research instruments consisted of 1) the learning package with problem based learning on the topic of the promotion of sexual health for youth 2) learning outcome test, and 3) satisfactory questionnaire. Statistics used to analyze were mean, standard deviation, and dependent samples t-test. The research revealed that 1) the developed learning package with problem based learning on the topic of the promotion of sexual health for youth had an efficiency of 86.67/85.17 2) the post-test mean scores were higher than the pre-test scores with statistically significant difference at a .05 level, and 3) the youth’s satisfaction after learning with the learning package with problem based learning was at a high level.en_US
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม. สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาen_US
dc.subjectชุดการเรียนการสอนen_US
dc.subjectการเรียนแบบปัญหาเป็นฐานen_US
dc.titleการพัฒนาชุดการเรียนด้วยการเรียนแบบปัญหาเป็นฐาน เรื่อง การสร้างสุขภาวะทางเพศสำหรับเยาวชนen_US
dc.title.alternativeDevelopment of learning package with problem based learning on the topic of the promotion of sexual health for youthen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis-TECHED)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RMUTT-154611.pdfการพัฒนาชุดการเรียนด้วยการเรียนแบบปัญหาเป็นฐาน เรื่อง การสร้างสุขภาวะทางเพศสำหรับเยาวชน12.67 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.