Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/3003
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorชนกพร มนัส
dc.date.accessioned2017-12-06T03:28:57Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:49:08Z-
dc.date.available2017-12-06T03:28:57Z
dc.date.available2020-09-24T04:49:08Z-
dc.date.issued2559
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/3003-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับการบริหารแบบมีส่วนร่วม 2) ระดับประสิทธิผลของสถานศึกษา และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารแบบมีส่วนร่วมกับประสิทธิผลของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดปทุมธานี ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครู สังกัดสำนักงานการ ศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดปทุมธานี ปีการศึกษา 2559 จำนวน 144 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นแบบสอบถามแบบมาตรวัดประเมินค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารแบบมีส่วนร่วมอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน ทั้งในภาพรวม และรายด้าน 2) ประสิทธิผลของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดปทุมธานี อยู่ในระดับมากที่สุดทั้งในภาพรวมและรายด้าน และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารแบบมีส่วนร่วมกับประสิทธิผลของสถานศึกษาสังกัดสำนกงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดปทุมธานี มีความสัมพันธ์กันระดับมากอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01en_US
dc.description.abstractThe purposes of this research were to investigate 1) the participative management level, 2) the school effectiveness level, and 3) the relationship between the participative management and effectiveness of schools under The Office of the Non–Formal and Informal Education in Pathum Thani Province. Five rating scale questionnaires were administered to 144 participants including school directors, and teachers under The Office of the Non–Formal and Informal Education of academic year 2016. The statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation, and Pearson’s product moment correlation coefficient. The results revealed that the participative management and effectiveness of school were at the highest level both in overall and individual aspect and the relationship between the participative management and school effectiveness was at a high level with a statistical significance level of .01.en_US
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม. สาขาวิชาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษาen_US
dc.subjectการบริหารคุณภาพโดยรวมทางการศึกษาen_US
dc.subjectการบริหารแบบมีส่วนร่วมen_US
dc.subjectการบริหารการศึกษาen_US
dc.subjectประสิทธิผลของสถานศึกษาen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารแบบมีส่วนร่วมกับประสิทธิผลของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดปทุมธานีen_US
dc.title.alternativeThe relationship between participative management and effectiveness of schools under the office of the non-formal and informal education in Pathum Thani provinceen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis-TECHED)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RMUTT-154614.pdfความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารแบบมีส่วนร่วมกับประสิทธิผลของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดปทุมธานี3.82 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.