Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/756
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพิศุทธิ์ จันทร์คำ
dc.date.accessioned2013-04-10T06:12:03Z
dc.date.accessioned2020-09-24T06:35:25Z-
dc.date.available2013-04-10T06:12:03Z
dc.date.available2020-09-24T06:35:25Z-
dc.date.issued2554
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/756-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะนำเศษเส้นด้ายไหมกลับมาใช้ใหม่ โดยนำมาผลิตเป็นเส้นด้ายใยสั้นด้วยกระบวนการปั่นด้ายแบบวงแหวน ในการศึกษานี้ได้นำเศษไหมทั้งจากเครื่องทอแบบกี่กระตุกและเครื่องทอไร้กระสวยแบบเรเปียร์ มาตัดให้ได้ความยาวประมาณ 38 มิลลิเมตร เพื่อให้เหมาะสมกับกระบวนการปั่นด้ายฝ้ายแล้วนำเส้นใยมาป้อนเข้าเครื่องตีเปิดเส้นใย เครื่องสางใย เครื่องรีดปุย เครื่องโรฟวิ่งและเครื่องปั่นด้ายแบบวงแหวน ตามลำดับ หลังจากนั้นนำเส้นด้ายไปทดสอบสมบัติทางกายภาพและนำไปถักเป็นถุงมือถุงเท้าและผืนผ้า ผลการทดสอบพบว่าสามารถนำเศษเส้นไหมทั้งจากเครื่องทอแบบกี่กระตุกและจากเครื่องทอแบบเรเปียร์ มาปั่นเป็นเส้นด้ายได้ โดยเส้นด้ายเศษไหมจากเครื่องทอแบบกี่กระตุก สามารถปั่นเป็นเส้นด้ายเบอร์ 18.37 ของระบบเบอร์ด้ายฝ้าย มีจำนวนเกลียว 17.22 เกลียวต่อ นิ้ว ความแข็งแรงเท่ากับ 14.40 เซ็นตินิวตันต่อ เท็กซ์ และเส้นด้ายเศษไหมจากเครื่องทอแบบเรเปียร์สามารถปั่นเป็นเส้นด้ายเบอร์ 16.51 ของระบบเบอร์ด้ายฝ้าย มีจำนวนเกลียว 16.53 เกลียวต่อ นิ้วความแข็งแรงเท่ากับ20.27 เซ็นตินิวตันต่อ เท็กซ์ และสามารถนำไปถักเป็นผลิตภัณฑ์ เช่น ถุงมือ ถุงเท้า และผืนผ้าได้en_US
dc.description.abstractThe research aimed to recycle silk wastes from weaving process by transforming into spun yarns using ring spinning system. In this study silk wastes from both handloom and rapier loom were used and cut at length of 38 mm. suitable for cotton spinning process. Then fibers were fed into opener, carding machine, draw frame, roving machine and ring spinning machines. Physical properties were then used characterize the properties of resulted yarns. The yarns were knitted to make gloves, socks and knit fabrics. It was established that silk wastes from both handloom and rapier loom were able to make yarns. The yarn count of the recycled yarn from waste of handloom was 18.37 Ne with the average twist of 17.22 turns per inch. The tenacity of yarn from waste of handloom was 14.40 cN/tex. The yarn count of the recycled yarn using waste from the rapier loom was 16.51 Ne with the average twist of 16.53 turns per inch. The tenacity of yarn from waste of rapier loom was 20.27 cN/tex. The recycled yarns could be knitted into end-use product such as gloves, socks and knit fabrics.en_US
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์. สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งทอen_US
dc.subjectด้าย -- วิจัยen_US
dc.subjectเส้นใย -- วิจัยen_US
dc.subjectเครื่องทอแบบเรเปียร์en_US
dc.subjectการทอผ้าen_US
dc.titleการผลิตเส้นด้ายจากเศษไหมในกระบวนการทอผ้าen_US
dc.title.alternativeYarn Spinning from Silk Wastes in Weaving Processen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis - EN)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
122747.pdfการผลิตเส้นด้ายจากเศษไหมในกระบวนการทอผ้า12.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.