Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/828
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorเอกพงษ์ อู่ขันธวงศ์
dc.date.accessioned2013-05-09T03:08:25Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:16:21Z-
dc.date.available2013-05-09T03:08:25Z
dc.date.available2020-09-24T04:16:21Z-
dc.date.issued2554
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/828-
dc.description.abstractการค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงการนำเทคนิคมิลค์รัน มาประยุกต์ใช้กับโรงงานกรณีศึกษา เพื่อให้ทราบถึงค่าความเปลี่ยนแปลงของสินค้าคงคลัง รวมทั้งความเหมาะสมในการนำเทคนิคมิลค์รัน มาใช้กับผู้จัดจำหน่าย 2 รายของโรงงานกรณีศึกษา โดยใช้ตัวชี้วัดประสิทธิภาพ 4 ตัวคือ มูลค่าสินค้าคงคลังเฉลี่ย และเวลานำระหว่างการจัดส่ง และอัตราหมุนเวียนสินค้าคงเหลือและจำนวนวันของสินค้าคงคลัง โดยมีการเก็บข้อมูลจากการประยุกต์ใช้เทคนิคมิลค์รัน (Milk Run) ของโรงงานกรณีศึกษา แบ่งเป็น 2 ช่วง คือก่อนการปรับปรุง และช่วงการปรับปรุง ผลการศึกษา เมื่อมีการประยุกต์ใช้เทคนิคมิลค์รัน แล้วสามารถสรุปผลได้ตามตัวชี้วัดประสิทธิภาพ 4 ตัว คือมูลค่าสินค้าคงคลังเฉลี่ย และเวลานำระหว่างการจัดส่ง และอัตราหมุนเวียนสินค้าคงเหลือ และจำนวนวันของสินค้าคงคลัง โดยด้านมูลค่าสินค้าคงคลังเฉลี่ยของผู้จัดจำหน่าย ZVC และSDT ลดลงทั้งสองราย โดยอัตราการลดลงมีความแตกต่างกันน้อย ส่วนด้านเวลานำระหว่างการจัดส่งของผู้จัดจำหน่ายทั้งสองรายมีอัตราการลดลงเท่ากัน และแตกต่างกันน้อย ผลการทดสอบทางสถิติพบว่า ช่วงก่อนการปรับปรุง และช่วงการปรับปรุง แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ 0.05 ส่วนด้านอัตราหมุนเวียนสินค้าคงเหลือเพิ่มขึ้น โดยมีอัตราการเพิ่มขึ้นแตกต่างกันน้อย ส่วนด้านจำนวนวันของสินค้าคงคลังลดลง โดยมีอัตราการลดลงแตกต่างกันน้อยen_US
dc.description.abstractThe objective of independent study was to determine the change in the inventory level after implementing the Milk Run concept by the factory as well as to find the optimized operation of the Milk Run concept. The Study was carried out with the 2 suppliers of the factory. Four efficiency assessment indicators which are (1) average inventory level, (2) delivery to delivery lead time, (3) inventory turnover and, (4) day of inventory were used in this study. The collected data separated into 2 sections which are before the implementation of Milk Run concept and during the implementation of Milk Run concept. The result of the research using the four efficiency assessment indicators: (1) average inventory level, (2) delivery to delivery lead time, (3) inventory turnover and (4) day of inventory found that after implementing the Milk Run Concept. The average inventory of ZVC and SDT decreased with a small difference. The delivery to delivery lead time of ZVC and SDT decreased at the same ratio and slightly different. The statistical test showing the difference of delivery to delivery lead time before and during the implementation of Milk Run concept was at statistical significance level of 0.05. The Inventory turnover increased slightly, while the day of inventory demonstrated a minor decreased.en_US
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะบริหารธุรกิจ. สาขาวิชาการจัดการวิศวกรรมธุรกิจen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมการผลิต -- วิจัยen_US
dc.subjectมิลค์รัน -- สินค้าคงคลังen_US
dc.titleการลดสินค้าคงคลังโดยเทคนิคมิลค์รัน : กรณีศึกษา อุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนควบคุมอุณหภูมิในอุตสาหกรรมยานยนต์en_US
dc.title.alternativeInventory Reduction Using The Milk Run Concept: Case Study of Climate Control Parts for Automotive Manufacturingen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
Appears in Collections:การค้นคว้าอิสระ (Independent Study - BUS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
124362.pdfการลดสินค้าคงคลังโดยเทคนิคมิลค์รัน : กรณีศึกษา อุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนควบคุมอุณหภูมิในอุตสาหกรรมยานยนต์12.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.