Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/867
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorชาตรี ขันติธรรมกุล
dc.date.accessioned2013-05-31T02:54:42Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:16:27Z-
dc.date.available2013-05-31T02:54:42Z
dc.date.available2020-09-24T04:16:27Z-
dc.date.issued2554
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/867-
dc.description.abstractการค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงการนำแนวคิดลีน มาประยุกต์ใช้กับบริษัทประกอบชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์กรณีศึกษา เพื่อลดความสูญเปล่าที่เกิดจากของเสีย ในกระบวนการใส่อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขนาดเล็กลงบนแผ่นวงจรไฟฟ้า (SMT) และกระบวนการก่อนหน้านั้น โดยใช้ตัวชี้วัดประสิทธิภาพ 3 ตัวคือ อัตราส่วนของมูลค่าของเสียโดยรวมเมื่อเทียบกับยอดขาย อัตราของเสียที่เกิดในพื้นที่ SMT ต่อของเสียทั้งหมด และร้อยละของความสามารถโดยรวมของสายการผลิต SMT โดยมีการเก็บข้อมูลจากการประยุกต์ใช้แนวคิดลีนในบริษัทประกอบชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์กรณีศึกษาเป็น 2 ช่วง คือ ก่อนการปรับปรุงและหลังการ ผลการศึกษา เมื่อมีการประยุกต์ใช้แนวคิดลีนมาปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานของฝ่ายผลิต สามารถสรุปผลได้ตามตัวชี้วัดประสิทธภาพทั้ง 3 ตัวดังนี้ อัตราส่วนของมูลค่าของเสียโดยรวมเมื่อเทียบกับยอดขาย ลดลงร้อยละ 21.04 อัตราของเสียที่เกิดในพื้นที่ SMT ต่อของเสียทั้งหมด ลดลงร้อยละ 57.83 และความสามารถโดยรวมของสายการผลิต SMT เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.43en_US
dc.description.abstractThe objectives of this independent study were to explore the Lean Thinking and its adoption in a case study of an electronics assembly company, and to reduce waste from scrap in Surface Mount Technology (SMT) insertion part process and previous processes. For this study, there were 3 efficiency assessment indicators which were ratio of overall scrap values per sale, ratio of scrap at SMT area per overall scrap, and percentage of total performance of SMT lines. The data were collected from the case study company both before and after improvement by adoping Lean Thinking. The result found that after adopting Lean Thinking to improve efficiency of production department, the efficiency assessment indicators demonstated that the ratio of overall scrap values per sale decreased 21.04%, ratio of scrap at SMT area per overall scrap decreased 57.83%, and percent of total performance of SMT lines increase 7.43%en_US
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะบริหารธุรกิจ. สาขาวิชาการจัดการวิศวกรรมธุรกิจen_US
dc.subjectการจัดการธุรกิจen_US
dc.subjectการผลิตen_US
dc.titleการปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานของฝ่ายผลิต กรณีศึกษา บริษัทประกอบชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์en_US
dc.title.alternativeEfficiency improvement of production department case study of electronics assembly companyen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
Appears in Collections:การค้นคว้าอิสระ (Independent Study - BUS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
124390.pdfการปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานของฝ่ายผลิต กรณีศึกษา บริษัทประกอบชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์1.38 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.