Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/1953
Title: อิทธิพลตัวแปรการเชื่อมมิกซ้ำแนวต่อสมบัติของโลหะเชื่อมเหล็กกล้าไร้สนิมเฟอร์ริติก เกรด AISI430
Other Titles: Influences of Multipass MIG Welding Parameters on AISI430 Ferritic Stainless Steel Welds Properties
Authors: โสวัตร ประพันธมิตร
Keywords: โลหะ -- การเชื่อม
การเชื่อม
Issue Date: 2555
Publisher: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์. สาขาวิชาวิศวการผลิต
Abstract: การเชื่อมซ้ำแนว คือ การเชื่อมที่ใช้ในงานเชื่อมซ่อมบำรุงโครงสร้างหรือชิ้นส่วนเครื่องจักรในงานอุตสาหกรรม การศึกษาสมบัติของแนวเชื่อมซ้ำทำให้เกิดประโยชน์ในการเตรียมข้อมูลสำคัญสำหรับภาคการผลิตต่อไป ด้วยเหตุนี้งานวิจัยนี้จึงมีจุดประสงค์ในการประยุกต์การเชื่อมมิกซ้ำแนวรอยต่อชนเหล็กกล้าไร้สนิม AISI430 และศึกษาอิทธิพลตัวแปรการเชื่อมที่มีผลต่อสมบัติของแนวเชื่อมแผ่นเหล็กกล้าไร้สนิมเฟอร์ริติค AISI430 ความหนา A มิลลิเมตร ถูกนำมาต่อชนและยึดแน่นในอุปกรณ์จับยึด ร่องบากรวมของรอยต่อ DE องศา รอยต่อถูกเชื่อมมิกซ้ำแนวโดยการเปลี่ยนแปลงตัวเชื่อมประกอบด้วย กระแสไฟเชื่อม FE-HHEA ความเร็วในการเชื่อม 3EE-5EE มม/นาที และชนิดของแก๊ส A ชนิด รอยต่อที่ได้ถูกนำไปทำการเตรียมและตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแรงและโครงสร้างจุลภาค ผลการทดลองโดยสรุปมีดังนี้ กระแสเพิ่มขึ้นค่าความแข็งแรงเพิ่มขึ้น ความเร็วเพิ่มขึ้นค่าความแข็งแรงลดลง แก๊สปกคลุมผสมให้ค่าความแข็งแรงเพิ่มขึ้นและแนวเชื่อมซ้ำเพิ่มขึ้นค่าความแข็งแรงเพิ่มขึ้น การเพิ่มปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในแก๊สปกคลุมทำให้ค่าความแข็งแรงดึงของรอยต่อเพิ่มขึ้น การเชื่อมที่กระแส HHE A แก๊สปกคลุม Ar80% + CO[subscript2]20% ความเร็วในการเดินแนวเชื่อม AEE มม/นาที เชื่อมซ้ำครั้งที่ A มีค่าแรงดึงสูงสุดเท่ากับ F70 MPa
Multi-pass welding was an important process that was applied for repairing the structure and machine part in an industry. An investigation of the welded properties that was produced by multipass welding could be an advantage and an important data for welding repair in manufacturing process in the near future. Therefore, this research aimed to apply multipass MIG welding to produce the AISI430 ferritic stainless steel and investigate the welding parameters effect on the weld properties. A material used in this experiment was 3.0 mm thick of AISI430 ferritic stainless steel rolled plate. A butt joint that had a groove angle of 60 degree and a root opening of 1.0 mm was setup and clamped firmly in a jig. The joint was multipass MIG welded using variation of welding parameters such as welding current of 90-110A, welding speed of 300-500 mm/min and 3 type of shielded gas. The joint was prepared and investigated the relationship between the joint strength and micro structure of the joint. The results of the experiment can be summarized as follows. The tensile strength of the butt joint increased when the welding current was increased, the welding speed was decreased and the number of the pass was increased. Increase of carbon dioxide amount in a shielded gas affected to increase the tensile of the joint. The tensile strength of the joint also increased when the number of the welding pass increased. The optimized welding parameter that showed the tensile strength of 970 MPa was the welding current of 110A, the welding speed of 300 mm/min and the shielded gas of Ar80%+CO[subscript2]20%.
URI: http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/1953
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis - EN)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
139268.pdfอิทธิพลตัวแปรการเชื่อมมิกซ้ำแนวต่อสมบัติของโลหะเชื่อมเหล็กกล้าไร้สนิมเฟอร์ริติก เกรด AISI43015.16 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.