Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/4216
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorยุรฉัตร ดีคำไฮ-
dc.date.accessioned2023-08-10T07:45:36Z-
dc.date.available2023-08-10T07:45:36Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/4216-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับสมรรถนะในการสืบสอบทางวิทยาศาสตร์ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 2) เปรียบเทียบสมรรถนะในการสืบสอบทางวิทยาศาสตร์หลังเรียน โดยการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบร่วมกับการเรียนรู้แบบรวมพลัง และกลุ่มควบคุมที่จัดการเรียนรู้แบบปกติของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นนักเรียนที่กำลังศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสารสาสน์ วิเทศรังสิต อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี จำนวน 64 คน ได้มาโดยใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบปกติ 2) แผนการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบร่วมกับ การเรียนรู้แบบรวมพลัง และ 3) แบบทดสอบวัดสมรรถนะการสืบสอบทางวิทยาศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมุติฐานโดยใช้การทดสอบค่าที แบบเป็นอิสระต่อกัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) สมรรถนะในการสืบสอบทางวิทยาศาสตร์ รายวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 อยู่ในระดับมาก และ 2) สมรรถนะในการสืบสอบทางวิทยาศาสตร์ รายวิชา วิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังเรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบร่วมกับการ เรียนรู้แบบรวมพลัง สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en
dc.description.abstractThis research aimed to: 1) study the level of scientific investigation competency of the Secondary 3 (Grade 9) students and 2) compare the scientific investigation competency of the Secondary 3 (Grade 9) students after studying with discovery method accompanied by collaborative learning, and traditional learning. Research samples were 64 Secondary 3 (Grade 9) students from Sarasas Witaed Rangsit school, Thanyaburi, Pathum Thani, selected by cluster sampling. Research instruments included: 1) the traditional learning management plans, 2) the discovery method accompanied by the collaborative learning management plans, and 3) a scientific investigation competency test. The statistical techniques used for data analysis were mean, standard deviation, and independent samples t-test. The research results revealed that: 1) the scientific investigation competency in Science of the Secondary 3 (Grade 9) students was at a high level and 2) the Secondary 3 (Grade 9) students studying through discovery method accompanied by collaborative learning had a higher level of the scientific investigation competency in Science than those studying through traditional learning with statistically significant difference at the level of .05.en
dc.language.isoThaien
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม. สาขาวิชาการพัฒนาหลักสูตรและนวัตกรรมการสอนen
dc.subjectการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบen
dc.subjectการเรียนรู้แบบรวมพลังen
dc.subjectสมรรถนะในการสืบสอบทางวิทยาศาสตร์en
dc.subjectdiscovery methoden
dc.subjectcollaborative learningen
dc.subjectscientific investigation competencyen
dc.titleการพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบร่วมกับการเรียนรู้แบบรวมพลังเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะในการสืบสอบทางวิทยาศาสตร์ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3en
dc.title.alternativeDevelopment of Learning Management in Discovery Method Accompanied by Collaborative Learning to Enhance Scientific Inquiry Competency in Science Subject for Secondary 3 (Grade 9) Studentsen
dc.typeThesisen
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis-TECHED)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RMUTT-175372.pdfการพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบร่วมกับการเรียนรู้แบบรวมพลังเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะในการสืบสอบทางวิทยาศาสตร์ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 34.17 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.